ิ่งระดับสุญญากาศสูงเท่าไหร่ ยิ่งต้องใช้พลังงานมากเมื่อสุญญากาศสร้างขึ้นข้างในถ้วยดูดที่ตั้งบนพื้นผิว ถ้วยดูดจะยึดตามสภาพพื้นผิวด้วยตนเองและด้วยแรงดันภายนอกที่สูงกว่า แรงยกมีสัดส่วนตามพื้นผิวสัมผัส และระดับสุญญากาศ หากระดับสุญญากาศเพิ่มจาก 60% เป็น 90% แรงยกจะเพิ่มขึ้นสูงสุด 1.5 เท่า ในการจำากัดการใช้พลังงาน ควรที่จะจำากัดระดับสุญญากาศและ เพิ่มพื้นที่ผิวของถ้วยดูดแทน |
|||||||||||||
พื้นผิวและโครงสร้างนอกจากการเน้นที่ขนาดของวัตถุ การประเมินเชิงสายตาสามารถกำาหนดได้ว่าวัตถุมีลักษณะโค้งหรือแบนราบ สิ่งสำาคัญคือการใช้ถ้วยดูดที่พอเหมาะพอดีกับพื้นผิวที่สุด ส่วนช่วยเสริมมาจากการวิเคราะห์โครงสร้างของวัตถุ การตรวจประเมินอย่างรอบคอบมากขึ้นจะทำาให้ทราบถึงระดับความขรุขระซึ่งนอกจากจะจำากัดการใช้ถ้วยดูดแล้วยังบ่งบอกการรั่วไหลได้ |
|||||||||||||
ความพรุนความพรุนของวัสดุคืออะไร? คำาถามนี้สำาคัญมากสำาหรับการนิยามรูปแบบของถ้วยดูดและการวัดขนาดของปั๊ม ความพรุงนิยามได้ถึงจำานวนอากาศที่แรงดันบรรยากาศ ไหลผ่านวัสดุที่ต้องกด อากาศไม่สามารถไหลผ่านแก้วได้ในขณะที่กระดาษเต็มไปด้วยรูพรุนเล็ก ๆ |
|||||||||||||
วัสดุจำาเป็นต้องตรวจสอบอุณหภูมิการทำางานที่จำาเป็นในการใช้งานบางประเภท หารอุณหภูมิสูงเกินไป เช่นในการขึ้นรูปด้วยความร้อน หรือต่ำาเกินไป จำาเป็นต้องใช้ถ้วยดูดที่มีส่วนประกอบพิเศษ ซิลิโคนเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดแม้จะเสี่ยงที่จะ ปล่อยอนุภาคขนาดเล็ก (เฮโล) ซึ่งทำาให้ยากต่อการทาสีในขั้นตอนต่อไป ในกรณีนี้ ถ้วยดูด HNBR ของเราจึงเป็นทางเลือกที่เหมาะสม |
|||||||||||||
การเลือกถ้วยดูดเมื่อกำาหนดน้ำาหนักและขนาดของวัตถุได้แล้ว ต้องกำาหนดประเภทและเส้นผ่าศูนย์กลางของถ้วยดูดเช่นกัน ใช้ถ้วยดูดที่ใหญ่ที่สุดเพื่อลดระดับสุญญากาศ แนวทางดังกล่าวมีข้อได้เปรียบหลายประการ เช่น ระยะเวลาเคลื่อนย้ายน้อยลง การใช้พลังงานน้อยลง และอายุถ้วยดูดนานขึ้น |
|||||||||||||
ค่าพารามิเตอร์
|
|||||||||||||
ค่าพารามิเตอร์ที่ต้องตรวจสอบ
|